รับปิดงบการเงินเขตมีนบุรี

Posted on Posted in รับปิดงบการเงิน50เขตในกรุงเทพ

รับปิดงบการเงินเขตมีนบุรี รับปิดงบการเงิน ปิดงบย้อนหลัง งบหจก. งบเปล่า โดยทีมงานมืออาชีพ รับปิดงบการเงินเขตมีนบุรี โทรด่วน 083-622-5555

เขตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จดทะเบียนบริษัทเขตมีนบุรี,รับจดทะเบียนบริษัทมีนบุรี,จดห้างหุ้นส่วนจำกัด มีนบุรี,รับจดห้างหุ้นส่วนจำกัด มีนบุรี,จดทะเบียนบริษัทเขตมีนบุรี,จดทะเบียนบริษัทรามอินทรา,จดทะเบียนบริษัทสวนสยาม,ทำบัญชีมีนบุรี,จดทะเบียนบริษัทรามคำแหง,จดทะเบียนบริษัทเสรีไทย,จดทะเบียนบริษัทสุวินทวงศ์,จดทะเบียนบริษัทร่มเกล้า,จดทะเบียนบริษัทนิมิตใหม่,จดทะเบียนบริษัทสีหบุรานุกิจ,จดทะเบียนบริษัทถนนหทัยราษฎร์,จดทะเบียนบริษัทบางชัน,ทะเบียนบริษัทพระยาสุเรนทร์,ทะเบียนบริษัทย่านมีนบุรี,ทะเบียนธุรกิจมีนบุรี,รับตรวจบัญชีมีนบุรี,จดทะเบียนบริษัทซาฟารีเวิลด์

รับตัดต้นไม้,รับเคลียร์พื้นที่,ปรับพื้นที่,รับตัดหญ้า,รับปูหญ้าจัดสวน,รับตัดต้นไทร,รับตัดต้นโพธิ์,บริการตัดต้นไม้และเก็บขนกิ่งไม้

อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ่

ปิดงบการเงิน

รับปิดงบการเงิน,ปิดงบการเงิน,รับปิดงบย้อนหลัง,งบเปล่า,งบ หจก.,รับทำบัญชี,ทำบัญชี,ทำบัญชีรายปี,งานวางระบบบัญชี,ทำบัญชีรายเดือน,การวางแผนกำชำระภาษี,วางระบบบัญชี

ทราบกันดีว่า ทุกๆ สิ้นปี 31 ธันวาคม นิติบุคคลจะต้องปิดงบการเงิน เพื่อ นำส่ง กระทรวงพาณิชย์ กรมสรรพากร และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และมีระยะเวลากำหนดรับงบการเงิน หากยื่น เกินกำหนด ก็จะก่อให้เกิด ค่าปรับต่างๆ และยังส่งผลกระทบด้านอื่น ตามมา เช่น บางบริษัท อาจจะเป็นต้องใช้งบการเงินในการยืมกู้สินเชือต่างๆ หรือใช้ประมูลงานราชการซึ่งจำเป็นต้องใช้งบการเงิน ประกอบ ดังนั้น บริษัท ยินดีที่จะให้บริการ ปิดงบการเงินให้กับ นิติบุคคล เช่น ห้างหุ้นส่วนสามัญ นิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคม มูลนิธิ นิติบุคคลหมู่บ้าน โรงเรียน ฯลฯ การยื่นภาษีบุคคลธรรมดา ใบทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า) หน้าที่การยื่น แบบแสดงรายได้ เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่มีรายได้ ให้ยื่น ภายในสินเดือน มีนาคม ของทุกปี ซึ้งของดีคือ ผุ้ประกอบการสามารรถใช้เอกสารการเสียภาษี เป็นเอกสารประกอบการยืมกู้ของสินเชือได้ เพราะสถาบันการเงินจะขอหลักฐานที่แสดงว่ามีรายได้

รับปิดงบการเงิน.com บริการเริ่มตั้งแต่การให้ คำแนะนำในการเลือกประเภทจดทะเบียนธุรกิจ วางระบบบัญชี ทำบัญชีรายเดือน การวางแผนกำหนดชำระภาษี ปิดงบการเงิน จนถึง ตรวจสอบงบการเงิน พร้อมนำส่ง กระทรวงพาณิชย์ และกรมสรรพากร ให้ทันตามเวลากำหนด โดยให้ลูกค้าเสียภาษี น้อยที่สุดตามที่กฎหมายกำหนด

ปิดงบการเงิน.com เป็นผู้ให้บริการด้านรับทำบัญชี เพียงไม่กี่รายในประเทศไทย ที่มีมาตรฐานในการทำงาน เนื่องด้วยผู้บริหารหลายท่าน มีวิสัยทัศน์ในเรื่องการบริหาร การตลาดยุคใหม่ การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินธุรกิจและพร้อมที่จะถ่ายทอดให้กับลูกค้าที่เป็นผู้ประกอบการทุกราย ที่อยู่ในความดูแลงานบัญชี เพื่อเสริมความแข็งแกร่ง ความมั่นคงทางธุรกิจให้กับทุก ๆSME ให้เริ่มต้นและอยู่รอด ด้วย สโลแกน ที่ว่า “คุณอยู่ได้ เราก็มีงานทำ” เรากล้าพูดได้เลยว่า “เราเป็นผู้บริการงานด้านบัญชีที่ครบวงจร และใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการทำงาน

สิ่งสำคัญในการทำธุรกิจ ไม่ใช่การจัดตั้งบริษัทจำกัด หรือจดห้างหุ้นส่วนจำกัด แต่เป็นเรื่องของการวางแผนภาษี การจัดทำบัญชี มากกว่า การดูแลให้ธุรกิจอยู่รอดในแต่ละปี ทำอย่างไรถึงจะมีงานตลอด ขายของได้ตลอด มียอดขายดี สิ่งที่ผู้ประกอบการ SME ต้องการมากกว่าแค่การทำบัญชีทั่วๆไป คือ “คำปรึกษา” ซึ่งทางบริษัท ควิกแอคเคาท์ติ้ง จำกัด เป็นมากกว่าสำนักงานบัญชี สิ่งที่เราให้ จะมีมูลค่ามากกว่าค่าบริการที่เราได้รับ เราให้ได้เพราะเราขาย “ประสบการณ์” ประสบการณ์ที่ผู้บริหารหลายท่านต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ แต่เรานำมาถ่ายทอดให้ท่านฟรี เพียงเพราะเราต้องการให้ธุรกิจของท่านเติบโต และดำเนินไปด้วยความราบรื่นด้วยดีตลอดไป

ที่ตั้งและอาณาเขต
เขตมีนบุรีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตคลองสามวา มีคลองพระยาสุเรนทร์ 1 (กีบหมู) ลำรางคูคต ซอยหทัยราษฎร์ 29 (โชคอนันต์) ถนนหทัยราษฎร์ ลำรางโต๊ะสุข คลองเจ๊ก ลำรางสามวา คลองสามวา ซอยนิมิตใหม่ 5 (เหมือนสวาท) ถนนนิมิตใหม่ ซอยนิมิตใหม่ 8 (วีแสงชัย) คลองลำบึงไผ่ และคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตหนองจอก มีลำรางข้างซอยราษฎร์อุทิศ 70 คลองแยกคลองลำหินฝั่งใต้ คลองลำหินฝั่งใต้ คลองลำต้นไทร และคลองลำนกแขวกเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตลาดกระบัง มีคลองบึงใหญ่ ลำรางตาทรัพย์ แนวคันนาผ่านถนนคุ้มเกล้า คลองตาเสือ ลำรางศาลเจ้า ลำรางคอวัง คลองสองต้นนุ่น และคลองลำนายโสเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตสะพานสูงและเขตคันนายาว มีคลองลาดบัวขาว คลองแสนแสบ และคลองบางชันเป็นเส้นแบ่งเขต

ที่มาของชื่อเขต
คำว่ามีนบุรีแปลว่า "เมืองปลา" เป็นนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้กับเมืองใหม่ที่ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2445 โดยรวมอำเภอคลองสามวา อำเภอแสนแสบ อำเภอหนองจอก และอำเภอเจียรดับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตหนองจอก) เข้าไว้ในเขตการปกครองของเมือง เหตุที่ใช้ชื่อว่าเมืองปลาเนื่องจากตำบลแสนแสบเป็นบริเวณที่มีบ่อปลามาก และเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อเมืองธัญญบุรีที่แปลว่า "เมืองข้าว"

ประวัติ
เขตมีนบุรีในอดีตเป็นท้องที่หนึ่งของ อำเภอคลองสามวา ซึ่งเป็นอำเภอหนึ่งทางทิศตะวันออกของมณฑลกรุงเทพ ต่อมาในปี พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รวมท้องที่อำเภอคลองสามวากับอำเภอข้างเคียงอีก 3 อำเภอตั้งขึ้นเป็นเมืองใหม่และพระราชทานนามว่า "เมืองมีนบุรี" อำเภอคลองสามวาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอเมือง เนื่องจากเป็นที่ตั้งของเมือง (จังหวัด) แห่งนี้

ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดพระนคร เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อำเภอที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดมีนบุรีเดิมจึงมีชื่อเรียกว่า อำเภอมีนบุรี จากนั้นกระทรวงมหาดไทยได้ตั้งสุขาภิบาลมีนบุรีขึ้นในปี พ.ศ. 2498 ประกาศตั้งตำบลทรายกองดินใต้ แยกจากตำบลทรายกองดินในปี พ.ศ. 2505 และขยายเขตสุขาภิบาลมีนบุรีให้ครอบคลุมทั้งอำเภอด้วย ในปีถัดมา

อำเภอมีนบุรีได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตมีนบุรี หลังจากการรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อปี พ.ศ. 2515 แบ่งเขตการปกครองย่อยเป็นแขวง รวม 7 แขวง และในที่สุดเมื่อปี พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี แยก 5 แขวงทางด้านเหนือของเขต ไปจัดตั้งเป็นเขตคลองสามวา ทำให้เขตมีนบุรีเหลือพื้นที่ปกครองอยู่ 60 ตารางกิโลเมตรเศษ ใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร

call-0836225555

บริการให้คำปรึกษาปัญหาการปิดงบการเงิน

  • ตั้งแต่เปิดมาไม่เคยยื่นงบการเงิน
  • ไม่ปิดงบการเงินหลายปี
  • มีจดหมายติดต่อจากกรมสรรพากร
  • มีจดหมายจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
  • มีจดหมายจากสำนักงานตำรวจ
  • ได้รับจดหมายตรวจสภาพกิจการ
  • เป็นตัวแทนชี้แจงเรื่องภาษี แทนผู้ประกอบการ
  • บุคคลธรรมดาที่มีรายได้เกิน 1.8 ล้าน / ปี

บริการจัดทำบัญชีและยื่นภาษี


บริการจัดทำบัญชีและยื่นภาษี รายเดือน (Accounting and Tax Service)
  • บริการจัดทำภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายประจำเดือนพร้อมยื่นแบบภาษีเงินได้ ( ภงด.1 , ภงด.3 , ภงด.53 )
  • บริการจัดทำรายงาน ภาษีซื้อ-ขาย ประจำเดือนพร้อมยื่นแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30 ภพ.36)
  • บริการจัดทำเงินเดือนและจัดทำแบบนำส่งประกันสังคม,กองทุนทดแทนพร้อมทั้งนำส่งประกันสังคม
  • บริการจัดทำบัญชีสมุดรายรับ-จ่าย รายวันซื้อ-ขาย รายวันทั่วไปและสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป เป็นต้น
  • บริการให้คำปรึกษาปัญหาภาษีตลอดปี วางระบบเอกสารบัญชี ภาษีอากร และวางแผนภาษีเพื่อให้กิจการของท่านประหยัดภาษี

บริการตรวจสอบบัญชี


บริการตรวจสอบบัญชี/ปิดงบการเงินสิ้นปี (Audit Service)
  • จัดทำงบแสดงฐานะการเงิน,งบกำไรขาดทุน และหมายเหตุประกอบงบการเงินตามที่กฎหมายกำหนด
  • ตรวจสอบงบการเงินประจำปี โดยผู้ตรวจสอบที่ได้รับอนุญาต (CPA) และนำส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • จัดทำเอกสารเพื่อนำส่งงบการเงินยื่นกรมสรรพากรและกระทรวงพาณิชย์(ภงด.50,ภงด.51,บอจ.5,ส.บช.3)
  • จัดเตรียม ข้อมูล เอกสารเพื่อนำส่งงบ กับกระทรวงพาณิชย์ ผ่าานระบบ DBD e-Filing

โทรหาเราเพื่อปิดงบการเงิน

การเลือกใช้ ผู้ทำบัญชี หรือสำนักงานบัญชี

การที่เราจะเลือก ใครสักคนมาดูแลงานด้านภาษี และบัญชี ควรจะใส่ใจในรายระเอียดของบริการ ความน่าเชื่อถือ ความมั่นคงของสำนักงาน ช่องทางการติดต่อ เวลาที่เราต้องการคำปรึกษา คำแนะนำ วิธีแก้ปัญหา ว่าสามารถตอบสนองความต้องการของธุรกิจได้ดีเพียงใด เพราะธุรกิจที่ตั้งขึ้นมาด้วยมือของเราเองย่อม มีความหมาย ความสำคัญกับเรา SME ในต่างประเทศจะให้ความสำคัญกับเรื่อง บัญชี ภาษี อย่างมาก ต่างกับ SME ไทย ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยให้ความสำคัญ จะมุ้งเน้นไปที่การตลาด การขาย จนลืม เรื่องบัญชีและภาษี ทำให้เกิดปัญหา ต่อเนื่องจนอาจทำให้สุดท้ายต้องปิดตัวลงอย่างง่ายดาย เนื่องจากงาน บัญชี และภาษี เป็นเรื่องที่เรียนรู้ไม่มีวันจบ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา คนที่จะดูแลก็ต้องเรียนรู้และก้าวให้ทันต่อเหตุการณ์ คอยติดตามข่าวสารใหม่ๆ เพื่อจะได้ วางแผนการเสียภาษี ให้ถูกต้อง ตามประมวลรัษฎากร การบันทึกบัญชีให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี สามารถสรุปเป็นข้อๆดังนี้

  1. สถานที่ตั้งสำนักงาน ควรมีที่ตั้งที่แน่นอน มั่นคง ติดต่อได้สะดวก ควรจัดตั้งเป็นนิติบุคคล
  2. นโยบายการบริหาร ความรวดเร็วของข้อมูล การติดต่อสื่อสาร การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟท์แวร์ ที่ทันสมัย
  3. บุคลากร มีความรู้ มีประสบการณ์ มากน้อยเพียงใด ควรมี หลายๆฝ่ายเพื่อให้ครอบคลุมทุกเรื่อง เช่น ฝ่ายบัญชี ฝ่ายตรวจสอบ ฝ่ายกฎหมาย ฝ่ายการตลาด ฝ่ายไอที จึงจะสามารถตอบสนองความต้องการ ได้ครบวงจร
  4. ให้เข้าไปดูระบบการทำงานของสำนักงาน ดูจำนวนพนักงาน ถามถึงจำนวนลูกค้า เพื่อดูสัดส่วนการบริการ รวมถึงระบบการจัดเก็บเอกสาร การสำรองข้อมูลต่างๆ ว่าดีเพียงใด
  5. ถามถึง ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ว่าเป็นใคร ทำงานร่วมกับสำนักงานประจำหรือไม่ ประสบการณ์ผู้สอบเป็นอย่างไรบ้าง

เราให้บริการทั่ว กรุงเทพฯและเขตปริมณฑล / ต่างจังหวัด  ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่  โทร : 083-622-5555 (คลิ๊กเลย)